ทางครอบครัวขอกราบขอบพระทัย เป็นอย่างสูงยิ่ง
ค่าใช้จ่ายในการรักษาที่ รพ.เกษมราษฎร์ ประชาชื่น มาจากเงินกองทุนประกันสังคม ครอบครัวเพิ่มเติมในส่วนที่เกินสิทธิ์เท่านั้น และมีจำนวนดังตารางที่แสดงข้างท้าย
Cinema of Thailand
From Wikipedia, the free encyclopedia
The cinema of Thailand has a history that stretches back to early days of filmmaking, when King Chulalongkorn's 1897 visit to Berne, Switzerland was recorded by Francois-Henri Lavancy-Clarke. The film was then brought to Bangkok, where it was exhibited. This sparked more interest in film by the Thai Royal Family and local businessmen, who brought in filmmaking equipment and started to exhibit foreign films. By the 1920s, a local film industry was started and in the 1930s, the Thai film industry had its first "golden age", with a number of studios producing films. The years after the Second World War saw a resurgence of the industry, which used 16 mm film to produce hundreds of films, many of them hard-driving action films. Competition from Hollywood brought the Thai industry to a low point in the 1980s and '90s, but by the end of the '90s, Thailand had its "new wave", with such directors as Nonzee Nimibutr, Pen-Ek Ratanaruang and Apichatpong Weerasethakul as well as action hero Tony Jaa being celebrated at film festivals around the world. For every genre that
ขอบพระคุณเพื่อน ๆ พี่ต้าที่ได้กรุณามอบเงินจำนวน 10,000 บาท จากกองทุนของ เพื่อน ๆ อัสสัม ฯ ให้พี่ต้าเป็นส่วนตัว เมื่อประมาณเดือนเมษายน 2550
พี่ตุ้ยและสามี มาเยี่ยมที่บ้านและกรุณามอบค่าใช้จ่ายไว้ให้พี่ต้า 5,000 บาท
และได้รับมอบจากเพื่อน ๆ (ไม่ได้บอกกลุ่ม) สำหรับใช้จ่ายในการรักษาตัวของพี่ต้าอีกครั้งเมื่อประมาณ เดือน มกราคม 2551 ซึ่งได้รวมเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลพี่ต้า เดือนมกราคม 2551 แล้ว
วันที่ 30 มกราคม 2551 ได้รับมอบจาก ม.ล. วราภา เกษมศรี 3,000 บาท
และยังมีการมอบจากเพื่อน ๆ เป็นการส่วนตัวอีกในระหว่างเยี่ยมที่ รพ. ซึ่งเราไม่ทราบยอด ทางครอบครัวต้องกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ด้วย
ต้องกราบขอบพระคุณคุณหมอ คุณพยาบาล คุณเจ้าหน้าที่ และรพ.เกษมราษฎร์ประชาชื่น ที่กรุณาดูแลอย่างดียิ่ง
ส่วนเรื่องกองทุนสำหรับพี่ต้าโดยเฉพาะนั้น ทางครอบครัวไม่ได้มีส่วนร่วมแต่อย่างใด
ด้วยความขอบพระคุณ
ครอบครัว
แม่-พี่-น้อง
พี่ต้ามีพี่สาว ต่างมารดา 1 คน พี่ชายต่างมารดา 2 คน (ถึงแก่กรรมแล้ว 1 คน)
น้องสาวร่วมมารดา อีก 8 คน และน้องชายร่วมมารดา อีก 1 คน
รวมกันตอนนี้ ตัวแท้ ๆ มีแม่ และพี่น้อง 11 คน
รวมสะใภัและเขย ครอบครัวจึงมีเยอะคนมากค่ะ
| |||||||||||
มีค. 2550 | | รพ. เกษมราษฎร์ ~12-15 มีค. | อยู่ รพ. สองรอบ รอบแรกไม่มีบันทึก | ||||||||
เมย. 2550 | | รพ. เกษมราษฎร์ 2-6 เมย., 16-24 เมย. รพ.เจ้าพระยา 29-31 เมย. | อยู่ รพ. สามรอบ รวม 17 วัน | ||||||||
พค. 2550 | 82,923 ได้รับความกรุณาจาก คุณ | รพ.เจ้าพระยา 1-4 พค. | อยู่ รพ. เจ้าพระยา 4 วัน | ||||||||
มิย. 2550 | 8,520.00 | รพ.เกษมราษฎร์ ไปตรวจ 7 มิย. รพ.เกษมราษฎร์ 13-14 มิย. | อยู่ รพ.เกษมราฎร์ 2 วัน | ||||||||
กค. 2550 | 14,080.00 | รพ.เกษมราษฎร์ ไปตรวจ 5 กค. รพ.เกษมราษฎร์ 25-26 กค. | อยู่ รพ.เกษมราฎร์ 2 วัน | ||||||||
สค. 2550 | 21,392.00 | รพ.เกษมราษฎร์ 18-19,25-26, 30-31 สค. | อยู่ รพ.เกษมราฎร์ 6 วัน | ||||||||
กย. 2550 | 14,080.00 | รพ.เกษมราษฎร์ 6-9, 13-16 กย. รพ.พระนั่งเกล้า 25-30 กย. | อยู่ รพ.เกษมราฎร์ 6 วัน รพ.พระนั่งเกล้า 6 วัน | ||||||||
ตค. 2550 | 6,055.00 |
| รวมอยู่ รพ. 9 วัน | ||||||||
พย. 2550 | 9,616.00 |
| รวมอยู่ รพ. 6 วัน | ||||||||
ธค. 2550 | 13,577.00 |
| รวมอยู่ รพ. 18 วัน | ||||||||
มค. 2551 | ประมาณ 25,000 ส่วนที่เกินสิทธิ์ ได้รับความอนุเคราะห์จาก หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม-หม่อมกมลา ยุคล และพร้อมมิตรภาพยนตร์ |
| |
No comments:
Post a Comment